Monday, November 12, 2018

La Fe at Fabriano Italy 10 Nov.2018





























                                                          LaFe in Florence Italy 









                                  Fabriano 





Fontana Sturinalto







The invention of paper is traditionally attributed to the Chinese, but it was actually the Arabs who, after having learned the rudiments of manufacture and made a few improvements, spread the new product throughout the west. It was a long, arduous process that was completed in the second half of the 13th century in Fabriano, a little town of the Marche inland. The reason for this location, which made Fabriano the most important paper production centre of Europe, is very probably linked to the vicinity of Ancona, a port that was particularly open to trade with the Arab world.
The growing ability of the increasingly numerous and qualified artisans in Fabriano allowed them to make a real leap in terms of quality. Three innovations in particular led to the rise of Fabriano as the cradle of modern papermaking.




The Paper and Watermark Museum is a museum of Fabriano, Italy. Based on the paper-making tradition of Fabriano, which is documented since the 12th Century, the museum focusses on handmade paper and watermark techniques in Medieval Italy.


Museum of Paper and Watermark, Museo della Carta e della Filigrana, Fabriano, Ancona,Marche, Italy, Europe












La Fe

IWS Board Executive Director


                                     Janine Yasovant Writer.


On this occasion I would like to introduce an artist, Sattha Homsawat, to anyone who is fond of water color painting. He prefers to be called “LaFe.” He defines himself as an artist who connects worlds of water color paintings together. One of the leading Thai artists in the exhibition “World Watercolor Media Exposition 2014”, Sattha and other artists brought over 300 pieces of water color paintings to be exhibited at the RCAC Thailand. At this event, there were also over 100 visiting artists from various parts of the world. With relentless faith in connecting the transparency of watercolor which is capable of reflecting meanings of art works to audiences, as if watercolor paintings can reach minds of people with no difficulty, water color artists can happily dedicate time to their beloved works of art.



I met LaFe the first time in Chiang Mai when he went with his team to visit Pichai Nirand’s house near the foothills of Doi Suthep Mountain.



JY: Do you have any preferred name other than your first name?   

LaFe: You can call me LaFe. It is a Spanish word which means faith. This name matches my Thai name Sattha which also means faith. 

JY: This is the first time I've met the representative head of IWS (International Water Color Society) Thailand. Some columnists even call you “Thai artist avant-garde”. Apart from your artistic skills, I found that your success in the world of water color is quite impressive. I am glad to meet you in person today. Please tell me about yourself and how you identity yourself as an artist?
LaFe: I was born in Chanthaburi Province, Thailand. When I was young, I loved drawing so much that I decided to study Fine Arts at Silpakorn University. As an artist, I want to create paintings that people can look at appreciatively so they can understand the concept that water color paintings should represent creative ideas rather than the presentation of who the artist is. In my view, the works come first and the fame could follow later. Moreover, it is not necessary for art to contain hidden meaning that only the creator and expert artists can understand. 

JY: How did you develop this concept?

LaFe: My previous experiences in water colors paintings made me feel that my real art concept is classic style. You can get inspiration from anything like forests, mountains and people’s movements. One good example here is a picture of  boys in a pond. This is my memorable impression that I want anyone to see. At a certain point in my life, I started to look at the aim of expression in conceptual water color paintings. These are not only traditional thoughts and methods, but it also should be a new kind of thinking process in that we should not add anything more than necessary. This concept is also called “Modern with unpaint” which is to intentionally let a background to be white in order to make empty or pure space. This space can be interpreted as light or fresh air. After that, I have been fascinated by the method of painting water color without drawing that I use for my newer paintings.


https://www.scene4.com/archivesqv6/2015/apr-2015/0415/janineyasovant0415.html



ในโอกาสนี้ดิฉันอยากจะแนะนำศิลปินท่านหนึ่งคุณศรัทธา หอมสวัสดิ์ ให้กับผู้ที่ชื่นชอบการเขียนภาพสีน้ำ ลาเฟเป็นชื่อที่คุณศรัทธาชอบใช้เรียกแทนตัวเอง เขาให้คำนิยามกับตัวเองว่าเป็นผู้เชื่อมโยงโลกแห่งสีน้ำเข้าด้วยกัน เป็นหนึ่งในศิลปินในงานนิทรรศการ “World Watercolor Media Exposition 2014” คุณศรัทธาและศิลปินท่านอื่นๆ นำผลงานภาพเขียนสีน้ำกว่า 300 ภาพไปจัดแสดงที่ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน ในประเทศไทย ในงานนี้มีศิลปินที่มาเยือนมากกว่า 100 ท่านจากหลาย ภูมิภาคของโลก ด้วยความศรัทธาที่ไม่ย่อท้อในการเชื่อมโยงความโปร่งใสของสีน้ำซึ่งสามารถสะท้อนความหมายของงานศิลปะให้กับผู้เข้าชม ราวกับว่าภาพเขียนสีน้ำสามารถเข้าถึงจิตใจของคนได้อย่างไม่ยากลำบาก ศิลปินสีน้ำจึงอุทิศเวลา
ให้กับงานศิลปะที่เป็นที่รักได้อย่างมีความสุข

ดิฉันพบกับลาเฟครั้งแรกในเชียงใหม่ตอนที่เขาและทีมงานไปเยี่ยมบ้านของอาจารย์ พิชัย นิรันต์ใกล้ๆกับเชิงดอยสุเทพ

จานีน: คุณมีชื่ออื่นที่อยากให้เรียกแทนชื่อจริงไหมคะ

ศรัทธา: คุณเรียกผมว่าลาเฟได้ครับ คำนี้เป็นคำภาษาสเปนหมายถึงความศรัทธาชื่อนี้ก็ตรงกับชื่อภาษาไทยของผมด้วย

จานีน:ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ดิฉันพบกับหัวหน้าตัวแทนของ
IWS (International 
Water Color Society) ประเทศไทย คอลัมนิสต์บางคนถึงกับยกตำแหน่ง “ศิลปินไทยชั้นสูง” ให้กับคุณ นอกเหนือจากทักษะทางศิลปะแล้ว ดิฉันพบว่าความสำเร็จ ในโลกสีน้ำของคุณนั้นค่อนข้างน่าประทับใจ ดิฉันรู้สึกยินดีที่ได้พบคุณในวันนี้
กรุณาเล่าเรื่องเกี่ยวกับตัวคุณเองและอยากทราบว่าคุณให้คำจำกัดความกับตัวเองในฐานะที่เป็นศิลปินอย่างไร 

ศรัทธา: ผมเกิดที่จังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ตอนที่ผมยังเด็กผมชอบวาดรูปมากเลยตัดสินใจเรียนจิตรกรรมที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ในฐานะที่เป็นศิลปินผมอยากสร้างภาพเขียนที่ให้คนมองด้วยความประทับใจ คนเหล่านั้นจะได้เข้าใจถึงแนวคิดที่ว่าสีน้ำควรนำเสนอแนวคิดที่สร้างสรรค์มากกว่าการนำเสนอว่าใครคือผู้วาด ในความคิดของผมผลงานต้องมาก่อนแล้วชื่อเสียงจึงตามมาทีหลังได้ นอกจากนี้ยังไม่จำเป็นที่ว่าศิลปะต้องมีความหมายซ่อนอยู่จนมีเพียงแค่ผู้สร้างผลงานและศิลปินผู้ชำนาญการเท่านั้นที่สามารถทำความเข้าใจได้

จานีน: คุณพัฒนาแนวความคิดนี้ได้อย่างไร

ศรัทธา: ประสบการณ์ในเรื่องการเขียนภาพทำให้ผมรู้สึกว่าแนวคิดทางศิลปะที่แท้จริงของผมคือแบบคลาสสิค คุณสามารถจะหาแรงบันดาลใจจากอะไรก็ได้เช่นป่าไม้ ภูเขา และความเคลื่อนไหวของมนุษย์ ตัวอย่างอันหนึ่งในที่นี้ก็คือภาพเด็กชายหลายๆคนในสระน้ำ นี่เป็นความประทับใจที่น่าจดจำซึ่งผมอยากจะให้ทุกคนได้เห็น เวลาหนึ่งในชีวิตของผม ผมเริ่มมองเป้าหมายการแสดงออกในเรื่องการ
เขียนภาพสีน้ำเชิงแนวคิด สิ่งเหล่านี้ไม่ได้เป็นเพียงแค่ความคิดและวิธีการเพียงเท่านั้นแต่ยังเป็นกระบวนการคิดแบบใหม่ด้วยว่าเราไม่ควรจะเพิ่มอะไรที่มากเกินความจำเป็น แนวคิดนี้ยังถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “Modern with Unpaint” คือความจงใจปล่อยให้ฉากหลังภาพเป็นสีขาวเพื่อที่จะสร้างพื้นที่ว่างเปล่าหรือพื้นที่บริสุทธ์ พื้นที่ว่างนี้สามารถตีความได้ว่าเป็นแสงหรืออากาศสดชื่น ภายหลังจากนั้นผมรู้สึกมีความสนใจในเรื่องการเขียนภาพสีน้ำมันโดยที่ไม่ต้องร่างภาพซึ่งวิธีนี้ผมใช้กับผลงานชิ้นใหม่เรื่อยๆ

https://www.scene4.com/archivesqv6/2015/apr-2015/0415/janineyasovantthai0415.html













































































































































Tuesday, November 6, 2018

นิทรรศการ “ศิลปกรรมสีน้ำ” High Prototype. 1 st World Contemporary Watercolor art Exhibition in Bangkok. 2018










 คุณนิวัต มหาบุณย์ กล่าวคำเปิดงาน "Prototype" World Watercolor Art Exhibition  in Bangkok 2018 ด้วยความร่วมมือจากภัณฑารักษ์ระดับโลกและภัณฑารักษ์ของประเทศไทย ที่ได้เลือกเฟ้นผลงานสุดยอดจากศิลปินสีน้ำระดับโลก 31 ท่านจากนานาประเทศเพื่อนำมาแสดงในงานนิทรรศการครั้งนี้ จึงรับรองได้ถึงมาตรฐานสากลอย่างแท้จริง กำหนดการจัดนิทรรศการ ระหว่างวันที่ 3 - 30 พฤศจิกายน 2018 ณ บ้านอาจารย์ฝรั่ง (Silp Bhirasri’s House) ถ. ราชวิถี กรุงเทพมหานคร

                         





ภาพงานเปิดนิทรรศการสีน้ำโลกศิลปาศรี ขอขอบพระคุณท่าน

คุณหญิงปัทมา ลี้สวัสตระกูล ประธานกรรมการ
โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพ
ที่ให้เกียรติมาเป็นประธานเปิดนิทรรศการสีน้ำโลก 
High Prototype ในครั้งนี้









คุณฉัตรชนก ดุลยรัตน์ 













































Associate Professor Sannarong Singhaseni and Nana Lohvitee  

รองศาสตราาจารย์แสนณรงค์ สิงหเสนี และคุณนานา ,คุณหญิงปัทมา ลี้สวัสตระกูล ,ศ.วิชัย สิทธิรัตน์ ศิลปินแห่งชาติ

Bann Ajarn Farang Silp Bhirasri ’s House BKK.


























ศ.วิชัย สิทธิรัตน์ ศิลปินแห่งชาติ .ให้เกียรติมาร่วมเปิดงาน 
                และให้ความรู้เกี่ยวกับสีน้ำ















                               Associate Professor Sannarong Singhaseni and Nana Lohvitee  











Nana 



























และขอขอบคุณโรงแรม
Bay beach resort Samui
ที่ร่วมสนับสนุนรางวัลสำหรับนิทรรศการนี้
ตลอดจนท่านสื่อมวลชน แลผู้มีเกียรติทุกท่าน
ด้วยนะครับ



temp song