Friday, September 29, 2017

Wieng Kum Kam , The Lost City : Lanna Chiang Mai








                                                                                                             







                                                                                                     Janine Yasovant  : writer
Meaning of Wiang Kum Kam


The oldest evidence regarding Wiang Kum Kam is a stone inscription located at Wat Phra Yuen Temple. The inscription was written in Thai-Sukhothai alphabets. On the first side at line 31, the word Koom Kam was written. The present spelling is “Kum Kam”.       
The word “Kam” refers to the country. In the first study it was still unknown. The assumption was from the ending of other cities’ names like Wieng Pu Kam. In Burmese language, “Kam” means home.  
“Kum” means to maintain in Thai-Yuan language which also has the same meaning as Thai standard language “Khum”. Hence, Wiang Kum Kam means to maintain the country.

Founding of Wiang Kum Kam

Wiang Kum Kam was founded because Phaya Meng Rai wanted to build a new capital to replace the Haripunchai city because he was dissatisfied with the city’s current location. It might be from weaknesses of the city which was built for over 500 years. The city was too small, narrow and could not be extended.
The old capital Haripunchai would be used as a center of Buddhism, while the new capital would be used as commercial and political center.
Phaya  Meng Rai chose to build the new capital in Chiang Mai - Lamphun plain without returning to Kok River plain which was located in the north. Wiang Kum Kam is a vast plain which is the biggest in the north. Rice could be grown here rice widely and at that time it was easy to contact the southern cities.

Reasons for relocating the capital city from Wiang Kum Kam to Chiang Mai.

For many reasons, Chiang Mai is geographically more suitable than Wiang Kum Kam. the city is in square shape and situated between the foothill of Doi Suthep and Ping River, inclining from the west to the east.  The strategically preferred position of Chiang Mai city is rather similar to the old tradition of Thai-Yuan people who preferred mountain in the west of the city. The city’s front turn to water. Water from the mountain can supply Chiang Mai city all the time. Considering the physical characteristics between Wiang Kum Kam and Chiang Mai City, it is found that Wiang Kum Kum is clearly inferior to Chiang Mai. That is, Wiang Kum Kam was located in the lowland. In a few years after the construction of Wiang Kum Kam, flaws could be seen in Wiang Kum Kam. Also, location of Chiang Mai was more appropriate. Therefore, the new capital was moved again to Chiang Mai. Actually, the reason was not because of the flooding at that time. Geological evidence indicated that Wiang Kum Kam was flooded only once. The city was collapsed during the rule of Burma.    

In 1829, Phaya Meng Rai, who ruled a city in Northern Thailand near the Mekong River, expanded his territory to Chiang Mai and Lampoon. He founded a new city to be a trade center using the Ping River as a transportation route. And then it disappeared. It literally sunk out of sight until it was rediscovered in 1997 amidst some controversy but with excitement and wonder.

When officials excavated and surveyed the area, they found that the forgotten city occupied 650 Rai of land, with at least 25 temples, an elaborate water system, layers of agricultural irrigation, and wide-spread artifacts. They also found ship and boat wreckage including "Scorpion's tail boats," which were quite unique

In 2002, officials announced that the legendary, lost city Wieng Kumkam was indeed an ancient city.

Chiang Mai province is the second largest province of Thailand with many exceptional environmental and cultural tourist attractions. Chiang Mai is the only one province where five districts in the North are located near the border of Burma. The highest mountain is Doi Inthanon which is at Chom Thong district in the South of Chiang Mai city and 2,565.33 meters high .The second highest mountain is at Doi Phahompok national park in Fang district and  is 2,285 meters high, and the third largest mountain is Doi Luang Chiang Dao in Chiang Dao district and is 2,170 meters high. These mountains are part of the Phee Pan Nam mountain range. Because the weather is pleasant, though a bit cold in winter, many people come to visit these mountains each year.


The mountains are the water source of the Ping River, which flows down to the central plain and then unites with the Wang, Yom and Nan Rivers in Nakornsawan province to become the famous Chao Phraya River before flowing southwards to the Thai Gulf at Samut Prakarn province.


The Ping River is quite beautiful and the subject of many paintings and photographs. Its charm also appears in poems and folk songs that emphasize traditional culture and display the beauty and charm of Chiang Mai.


The history of the Ping River is involved with the Northern people and the renowned historical tale of the former sunken city. Before 1997, the mystery comprised only two remaining pagodas, a large Buddha statue and a folk-tale about the river and this unknown place.


Eventually, when people moved into the area and discovered more artifacts, officials investigated and found that the land was covered by mud and sand as if deposited by a flood. And historically, there was an overwhelming flood in the area. As they probed further, they uncovered more evidence. The historical facts and aerial photographs proved that the city plan of Chiang Mai is marvelously surrounded by an old, unmapped, manmade circular-shaped canal. The proof of the construction of Chiang Mai city after Lanna people moved from Wieng Kumkam was engraved in the stone inscription in the year 1296 at Wat Chiang Mun. We might say that Wieng Kumkam is an underground empire.

At the time that Wieng Kumkam thrived, the agriculture was good and the military was strong. Chinese artisans came to produce porcelain using the abundant and valuable varieties of clay near a series of what are now famous kilns. Each of the kilns produced quite different ceramic porcelain. Porcelain from Sankamphaeng was painted in a two-fish pattern, while porcelain from Wieng Kalong was painted in a bird pattern. Phayao kiln used white clay to create statues of small soldiers on war elephants. The porcelain from Sukhothai kiln had a predominant green color. Nan kiln produced porcelain with dark colors and the pattern of owls. The kilns in each place were called 'Chinese dragon-kilns' because they were very large and the production capacity of porcelain in each kiln was more than 1,000 Bowls or plates at a time.


                                                                       




PhayaMeng Rai was the ruler of Nak Yonoknakorn.  According to Buddhist tradition, Nak (Thai serpent) was built as railings of stairs to the temple. Phaya Meng Rai was a friend of the Phaya Ngam Muang who governed the Phayao Empire and Pho khun Ramkamhaeng who was the ruler of Sukhothai Empire.

                                                                  







They were the three kings who founded Wieng Kumkam as both a trading and religious center. People at that time lived near the temples because it was easier for them to support the monks with food and money.  

During the construction of Wieng Kumkam, Phaya Meng Rai governed the Hariphunchai Empire before moving to Chiang Mai and built many temples such as Wat Chet yod, Wat U Mong, Wat Pra Singh, Wat Chedi Luang and Wat Chiang Man. The extant Lanna art style blended with Burmese and Chinese arts. When Burma conquered the North, nobody talked about Wieng Kumkam. Then the flood and the city was eventually forgotten.

Today, the Ping River, in all of its undulating, romantic beauty is a welcoming route to the no-longer forgotten, lost city of Wieng Kumkam





                                                       Nawarat Bridge 


                           Old Steel Bridge near Nawarat Bridge at Chiangmai, Thailand.

                                                                   
                                                                   


                                                                Scorpion Tailed boat




http://www.scene4.com/archivesqv6/nov-2010/1110/janineyasovant1110.html


                                                              


                                                       จานีน ยโสวันต์





ความหมายของชื่อเวียงกุมกาม

 หลักฐานเก่าที่สุดที่กล่างถึงเวียงกุมกามคือ ศิลาจารึก วัดรพระยืน จังหวัดพระยืน เขียนเป็น อักษรไทย สุโขทัย คำว่า กุมกามอยู่ในด้านที่ 1 บันทัดที่ 31 เขียนว่ากูมกาม คำอ่านปัจจุบันคือ กุมกาม
กาม หมายถึง บ้านเมือง แต่ในการศึกษาครั้งแรกก็มิได้รู้ว่าเป็นอะไร แต่สันนิฐานจากเวียงอื่น ที่ลงท้ายด้วยคำว่ากาม คือ เวียงพุกาม ซึ่งในภาษา พม่า กามแปลว่า บ้านนั่นเอง
กุม หมายถึง รักษา เนื่องจากเป็นภาษาไทยยวนมีความหมายคล้ายกับคำว่า "คุม" ในภาษาไทย กลาง ซึ่งหมายความว่า ป้องกันรักษา คอยกำกับดูแล
เพราะฉะนั้น เวียงกุมกาม หมายถึง รักษาบ้านเมือง
มูลเหตุกำเนิดเวียงกุมกาม
 เวียงกุมกามกำเนินขึ้นเพราะพญามังรายทรงประสงค์จะสร้างเมืองหลวงแห่งใหม่ แทนที่เมือง หริภุญไชย ด้วยความไม่พอใจในเมืองหริภุญไชย คงเป็นเพราะข้อบกพร่องของตัวเวียง ที่สร้างมาประมาณ 500 ปี มีขนาดเล็ก คับแคบไม่สามารถขยายเวียงได้ จึงหาสถานที่สร้างเมืองหลวง ขึ้นใหม่ โดยให้ เมืองหริภุญไชย มีฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางพุทธศาสนา ขณะที่เมืองหลวงแห่งใหม่จะเป็น ศูนย์กลางการค้า และการเมือง พญามังราย จะเลือกสร้างในเขตแอ่งที่ราบ เชียงใหม่ - ลำพูน โดยไม่กลับไป สร้างเมือง หลวงในเขต ที่ราบลุ่ม แม่น้ำกก ซึ่งอยู่ทางตอนบน ทั้งนี้ในที่เวียงกุมกาม เป็นที่ราบติดต่อกันไปเป็นผืนใหญ่ ที่สุดในภาคเหนือ จะสามารถปลูกข้าวได้อย่างกว้างขวาง และยังสามารถทำการค้นกับเมืองทางตอนใต้ได้อย่างสะดวก
สาเหตุการย้ายเมืองหลวงจากเวียงกุมกามมาเชียงใหม่

 เชียงใหม่มีลักษณะภูมิศาสตร์ที่เหมาะกว่าเวียงกุมกามกล่าวคือตัวเวียงเป็นรูปสี่เหลี่ยมตั้งอยู่ ระหว่าง เชิงดอยสุเทพ และแม่น้ำปิง ที่ตั้งลาดเทจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ลักษณะชัยภูมิ ของการตั้งเวียง เชียงใหม่ ตรงกับจารีตเดิม ของชาวไทยยวนที่ชอบตั้งคือให้ภูเขาอยู่ทาง ทิศตะวันตกของเวียง(หันหลังให้เขา) หนหน้าเขาน้ำ ลักษณะเช่นนี้จะทำให้ สายน้ำจากดอยสุเทพ ไหลลงมาหล่อเลี้ยงตัวเมืองเชียงใหม่ตลอดเวลาและในปัจจุบันหากเปรียบเทียบ ลักษณะ ทางกายภาพ ระหว่างเวียงกุมกามและเมืองเชียงใหม่จะพบว่าเวียงกุมกามมีข้อด้อยกว่าเชียงใหม่อย่างชัดเจน กล่าวคือ เวียงกุมกาม ตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มต่ำ เป็นไปได้ว่าหลังจากสร้างเวียง กุมกาม แล้วประมาณ 2 - 3 ปีก็เริ่มเห็นข้อบกพร่องในจุดนี้ของ เวียงกุมกาม ครั้นพบที่ตั้งของเชียงใหม่ซึ่งเหมาะสมกว่า จึงย้ายมาสร้างในที่แห่งใหม่และการย้ายมาสร้างเชียงใหม่ มิใช่ เพราะเวียงกุมกามถูกน้ำท่วมใหญ่ แล้วจึงย้ายมาสร้างเวียงเชียงใหม่ ทั้งนี้ในหลักฐานทางธรณีวิทยา บ่งชัดว่า เวียงกุมกาม ถูกน้ำท่วม เพียงครั้งเดียว เมืองก็ล่มสลายลง ในสมัยพม่าปกครอง




                เจดีย์ เหลี่ยม  เวียงกุมกาม


Anurote Chanphosri & Tippanet Yaemaneechai




Lanna Thai Map.


ในปีพ.ศ. 2372 พระยามังรายผู้ซึ่งปกครองเมืองในภาคเหนือของประเทศไทยอยู่ใกล้กับแม่น้ำโขงได้ขยายพื้นที่ของเข้ามายังเมืองเชียงใหม่และเมืองลำพูน ได้จัดตั้งให้เมืองใหม่เป็นศูนย์กลางการค้าขายโดยใช้แม่น้ำปิงเป็นเส้นทางขนส่งสินค้าและหลังจากนั้นมาเมืองก็หายสาบสูญไป อันที่จริงคือการจมไปจากสายตาจนกระทั่งได้มีการค้นพบอีกครั้งหนึ่งในปีพ.ศ.2540 ท่ามกลางการโต้แย้งแต่ก็มีความตื่นเต้นและความน่าอัศจรรย์เมื่อเจ้าหน้าที่ได้ทำการขุดค้นและสำรวจพื้นที่ก็พบว่าเมืองที่ถูกลืมมีเนื้อที่




















650 ไร่ มีวัดอย่างน้อย 25 แห่ง ระบบน้ำที่ละเอียดซับซ้อน ชลประทานเพื่อการเกษตรแบบเป็นชั้นๆ วัตถุมีค่าอยู่กระจัดกระจาย และยังได้พบซากเรือรวมทั้ง "เรือหางแมงป่อง"มีลักษณะค่อนข้างแปลก ในปีพ.ศ. 2545เจ้าหน้าที่ได้ประกาศว่าเวียงกุมกามซึ่งเป็นเมืองในตำนานที่สูญหายนั้นเป็นเมืองโบราณจริงๆ


เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศไทยที่มีสถานที่ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่โดดเด่นอยู่มากมาย เชียงใหม่เป็นจังหวัดเดียวที่ห้าอำเภออยู่ใกล้กับชายแดนพม่า ภูเขาที่สูงที่สุดคือดอยอินทนนท์ที่อยู่อำเภอจอมทองทางใต้ของตัวเมืองเชียงใหม่และมีความสูง,565.33 เมตร ภูเขาสูงเป็นอันดับสองคืออุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปกในอำเภอฝางที่มีความสูง 2,285 เมตรและภูเขาที่สูงเป็นอันดับสามคือดอยหลวงเชียงดาวในอำเภอเชียงดาวและมีความสูง 2,170 เมตร ภูเขาเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาผีปันน้ำ เพราะว่าอากาศดีแม้ว่าจะเย็นเล็กน้อยในฤดูหนาวหลายๆคนได้มาท่องเที่ยวภูเขาทั้งสามแห่งนี้ในแต่ละปีภูเขาเหล่านี้เป็นต้นน้ำของแม่น้ำปิงซึ่งไหลลงมาทางที่ราบภาคกลางไปรวม
แม่น้ำ วัง ยม และน่านที่จังหวัดนครสวรรค์กลายเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาก่อนที่จะไหลลงทางใต้ไปยังอ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ

แม่น้ำปิงนั้นสวยงามและอยู่ในภาพเขียนและภาพถ่ายมากมายความน่าดึงดูดใจนั้นปรากฏบทกวีและเพลงพื้นบ้านที่เน้นถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านและแสดงความงดงามและเสน่ห์ของเชียงใหม่ ประวัติแม่น้ำปิงของประเทศไทยนั้นเกี่ยวข้องกับผู้คนทางเหนือและเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของอดีตเมืองที่จมอยู่ใต้น้ำ ก่อนที่จะถึงปี

                                                                      


พ.ศ. 2540 เรื่องราวอันลึกลับประกอบด้วยเจดีย์ทั้งสองแห่งที่เหลืออยู่พระพุทธรูปองค์ใหญ่ และเรื่องพื้นบ้านเกี่ยวกับแม่น้ำและสถานที่ไม่มีใครรู้จักแห่งนี้ ในที่สุดเมื่อมีผู้คนย้ายมาในพื้นที่นี้และได้ค้นพบสิ่งของโบราณมากมาย เจ้าหน้าที่ได้ตรวจตราและพบว่าพื้นที่นั้นครอบคลุมไปด้วยดินโคลนและทรายซึ่งสะสมมาจากน้ำท่วมและตามประวัติศาสตร์แล้วก็มีน้ำท่วมใหญ่ที่ไม่อาจต้านทานได้ในบริเวณนั้น เมื่อได้มีการสำรวจต่อไปก็ได้รับหลักฐานมากขึ้น ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และภาพถ่ายทางอากาศได้พิสูจน์ว่าแผนเมืองเชียงใหม่ล้อมรอบไปด้วยลำคลองรูปทรงกลมที่สร้างโดยมนุษย์และไม่ปรากฏในแผนที่ หลักฐานของการก่อสร้างเมืองเชียงใหม่ภายหลังจากชาวล้านนาอพยพออกจากเวียงกุมกามนั้นเขียนไว้ที่หลักศิลาจารึกที่วัดเชียงมั่นเมื่อปีพ.ศ. 1839 ดังนั้นจึงสามารถที่จะกล่าวได้ว่าเวียงกุมกามเป็นอาณาจักรที่อยู่ใต้พิภพ



                                                                  


ในตอนที่เวียงกุมกามยังเจริญรุ่งเรือง การเกษตรสมบูรณ์ดีและการทหารนั้น แข็งแกร่ง ช่างฝีมือชาวจีนเข้ามาสร้างเครื่องปั้นดินเผาโดยใช้ดินเหนียวที่มีมากมายและมีคุณลักษณะที่มีค่าที่อยู่ใกล้แหล่งเตาเผาที่มีชื่อเสียง แต่ละเตาได้สร้างเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะค่อนข้างต่างกัน เครื่องปั้นดินเผา ของสันกำแพงจะทาสีเป็นลายปลาคู่ เครื่องปั้นดินเผาจากเวียงกาหลงก็จะทาสีเป็นรูปนก เตาเผาที่จังหวัดพะเยาใช้ดินสร้างรูปปั้นทหารบนช้างศึกเครื่องปั้นดินเผาจากเตาสุโขทัยจะเน้นสีเขียวเป็นหลัก เตาเครื่องปั้นดินเผาที่น่านจะใช้สีเข้มมีลวดลายนกฮูก เตาเผาในแต่ละแห่งถูกเรียกว่าเตามังกรเพราะมีขนาดใหญ่มากและมีกำลังการผลิตถ้วยและจานดินเผาได้มากกว่า1,000 ใบต่อครั้ง



                                                                     








พระยามังรายเป็นผู้ปกครองเมืองนากโยนกนคร ตามธรรมเนียมชาวพุทธ นากถูกจัดสร้างเป็นราวบันไดทางเข้าวัด พระยามังรายเป็นสหายกับพระยางำเมืองผู้ครองเมืองพะเยาและพ่อขุนรามคำแหงที่ปกครองอาณาจักรสุโขทัย ทั้งกษัตริย์ทั้งสามพระองค์ทรงเป็นผู้ก่อตั้งเมืองเวียงกุมกามที่เป็นทั้งศูนย์กลางการค้าขายและศาสนา ผู้คนในเวลานั้นอาศัยอยู่ใกล้วัดเพราะว่าง่ายต่อการดูแลพระสงฆ์ด้วยอาหารและเงินทองในช่วงการก่อสร้างเวียงกุมกาม พระยามังรายปกครองเมืองหริภุญไชยก่อนที่จะย้ายมาเชียงใหม่และสร้างวัดหลายแห่งเช่นวัดเจ็ดยอด วัดอุโมงค์วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง และวัดเชียงมั่น ศิลปะรูปแบบล้านนาผสมผสานกับศิลปะพม่าและจีน เมื่อพม่ายึดครองภาคเหนือ ไม่มีผู้ใดกล่าวถึงเวียงกุมกาม เกิดน้ำท่วมขึ้นและเมืองก็ถูกลืมเลือนในที่สุด ทุกวันนี้แม่น้ำปิงที่ซัดสาดขึ้นลงเกิดความงามที่เป็นเส้นทางต้อนรับเวียงกุมกามที่ไม่ได้เป็นนครที่ถูกลืมเลือนอีกต่อไป









No comments:

Post a Comment

temp song