November full moon shines,
Loy Krathong, Loy Krathong,
and the water's high
in the river and local klong,
Loy Loy Krathong,
Loy Loy Krathong,
Loy Krathong is here and everybody's full of cheer,
We're together at the klong,
Each one with this krathong,
As we push away we pray,
We can see a better day.
This is a famous song from the Loy Krathong festival when the rainy season is over and the high season begins with tourists who are coming again to see the popular festival in many places of Thailand. The Loy Krathong song also accompanies Thai dancing called Rumwong, a beautiful dance in a quick step for men and women to celebrate annually on the full moon day of the twelfth lunar month.
The Loy Krathong festival is cerebrated throughout Thailand and other countries, especially where there are rivers, seashores and canals, and other places of flowing water.
Loy means to float and Krathong is a lotus shaped vessel made of banana leaves, which usually contains a candle, three joss sticks, some flowers and coins. Celebrants light the candle and joss sticks, make a wish and let them drift away until they go out of sight.
The grand ceremony will take place in Bangkok, Ayuthaya, Sukhothai and Chiangmai in November.
Where does this festival come from?
The ancient Thai tradition dates back to the Sukhothai period when "Nang Nopamas", a palace maiden, created a krathong from lotus flowers for the reigning King of Sukhothai. It is also influenced by the Indian Lantern or Diwali Festival, in which floats are made in worship of the three Brahmin Gods: Brahma, Vishnu and Shiva, and reflects the belief adapted to fit in with the Thai farmers' way of life depending upon the flow of water.
Nang Nopamas' original design and the materials she used, with small variations, have survived to this day. Each krathong is made by hand using banana tree slices with folded banana leaves intricately placed in a variety of fashions. The krathong contains flowers, joss sticks, candles, devotional offerings and hair or fingernail clippings.
As legend has it, a naturally made krathong is placed into a body of water with a simple ceremony to honor the Goddess of all water sources, expressing gratefulness for the life-giving fluid and asking her forgiveness for misusing the water. Buddhist principles are integrated into the ritual and all individuals believe that by floating the krathong and making the devotional offering, all bad luck, disease and any unhappiness will also float away.
Based on historical fact of Sukhothai era, the honored King Mongkut (Rama IV) of Siam wrote about the first Loy Krathong festival in 1863
King Mongkut was a deeply religious man and had spent most of his life in a monastery. He was also educated in Western sciences and fluent in English. He is known to the Thai people as the father of Thai science including astronomy, and he was also a philosopher. He could read the stars, cast horoscopes, foretell eclipses, and fulfill the duties of a weather prophet. As the founder of Dhammayuth sect for monks in Thailand, he used his knowledge of astronomy to set the dates for the religious ceremonies. His modern fame in the West comes from the American movie: "The King and I."
The First Loy Krathong Festival
The following story was written by King Mongkut (Rama IV) in English:
'In the reign of Somdet Phra Ruang there lived a famous Brahmin who was noted in the capital, and in all the surrounding country, for his great wisdom. There was no branch of knowledge whose depths he had not fathomed. He could read the stars, cast horoscopes, foretell eclipses, and fulfill the duties of a weather prophet. He was well versed in the mysteries of the theory and practice of medicine, and knew the names, habitats, and virtuous properties of all the plants that grew. As a theologian he could explain the origin of all things, and discourse upon the subtle doctrines of all the religions then known. He was an authority upon law, could tell what had been the customs of many people, and devise plans for firm and wise government. As a scholar of ancient practices he was unrivalled, and knew all the details of the growth and development of all religions and social usages. Such a man found great favour in the eyes of the sovereign, who made use of the Brahmin's great wisdom in the management of his subjects. He gave him many honours and appointed him to fill many important functions. Amongst many offices that he held, two were given him on account of his unrivalled knowledge, namely those of chief physician and chief judge.
This encyclopedic philosopher had a young and graceful daughter whom he called Nopamas. And as became a child of so wise a father, she was also well skilled in many arts and sciences. Her beauty was the subject of every song, and her name was on everyone's lips. The whole nation was enthusiastic in their praise for her, and so great were her charms and abilities that even her own sex regarded her not with envy, but were proud that one of their number should be distinguished. She was almost as learned as her father and was wont to discourse upon all subjects with great intelligence. She was a clever poetess, a skilful musician, and an artist of great power. And when the poets of the country had exhausted all their vocabulary in describing her beauty and her talents, they began to sing of the honours she ought to receive, and greatest of all these was the honour of becoming the wife of the king. One day the king listened to a group of musicians who were merrily singing, and the subject of their song was the wondrous Nopamas, fit only for the wife of the sovereign. The song scorned the idea of her wedding any one of less degree, and eulogised her to such an extent that the listening monarch's curiosity became very great. He returned to his palace, and sought for the ladies of his household. He told them all he had heard, and enquired if anyone of them knew anything of this peerless creatures. To the king's eager enquiries they returned the answer that the song was true, but that no words could adequately describe the charms of the Brahmin maiden. The king could no longer restrain his desire to possess so fair a creature, and he sent the most elderly ladies of his retinue, according to the custom of the country, to ask her father for her hands.
The ladies went, and their mission was entirely successful. The old counselor who had received so many favours from his sovereign was glad to have an opportunity of showing his gratitude in this way, so he willing presented his renowned daughter to his royal master. He sent her to the king, who ever afterwards treated her with great tenderness and affection, and soon made her chief of the ladies in the palace. Both of them enjoyed the greatest happiness when in each other's company, and whenever Nopamas was not engaged in fulfilling her duties in her department of the palace, she held converse with the king, delighting him with her great wisdom and knowledge, and charming him with her compositions in music and poetry.
Soon after their marriage there occurred a celebration of the Kathin ceremony, and the king desired of fair Nopamas to accompany him on his water procession. Now, although this beautiful wife had married a Buddhist king, she still remained true to her Brahmin faith, and worshipped her own idols and spirits according to the precepts her father had taught he in her early childhood. It was a Brahmin custom that, at the end of the year, all people should prepare suitable offerings to present to the genii of the river, in order to obtain pardon and the absolution of their sins. Towards the end of the year, when the people were getting ready to celebrate the Kathin, Nopamas secretly prepared to perform her own religious rites, and for this purpose she made a small boat-like structure, called a "krathong", made of banana leaves. She then loaded it with paddy husks to make it float in stable equilibrium. She stitched strips of plantain leaves together, and pinned them around the edge of the little boat by way of ornament. Over the ballast she spread smooth clean plantain leaves, and on this green leafy deck she placed a little cargo of betel nut, betel leaf, parched rice, and sweet scented flowers. She took several fresh fruits of a fleshy character, such as the papaya and the pumpkin, and deftly carved them into representations of fruits, flowers, and animals, and piled them up in a conical arrangement in the centre. The artificial flowers she stained with the juices of other plants to make them resemble real blossoms. Here and there she fastened one of her own sketches or paintings, and finally finished the work by adorning it with storied umbrellas of paper, tiny flags, toy implements, tapers, and scented incense sticks.
On the first evening of the Kathin ceremony the boats were arranged in front of the palace landing, as usual, and the state barge with the glass throne was moored there, pending the arrival of the king. Suddenly everyone's attention was attracted by a strange-looking object that was being floated to the royal landing. It was the Krathong that Nopamas had made. She intended to light the tapers and the incense sticks, and sent the float adrift to bear he message to the spirits, at the same time that the royal party should set out to visit the temples. But as soon as the Krathong had come to the landing, all the ladies, and the members of the royal family, who were assembled there to wait for the coming of the king, crowded round it, and begged to be allowed to examine it, so Nopamas had to explain the design and the meaning of this, her handiwork. So great was the interest exhibited by everyone in the pretty toy, that no one noticed the arrival of the king, and he seeing the crowd so noisy and so attracted, enquired, what was the cause of their merriment and amusement. Someone told him that everyone was busily admiring a float that this beautiful consort had made. He then ordered the object to be brought to him that he might also see and hear about it. When he saw it he could not find sufficient words to express his admiration of the skill that had designed and constructed it. He requested to be allowed to keep it, and Nopamas knelt before him and presented him with the decorated krathong. He again praised the work, but more still did he praise she who had made it. But when he had examined it a little longer, he discovered its purpose, and said, "This is the offering of a lady of the Brahmin faith," and Nopamas answered him saying, "That is so, for I am a Brahmin, and hitherto Your Majesty has not interfered with my religious belief, so at this season of the year, I have made this little krathong with the intention of floating it down the river as an offering to the spirits of the water, as is right and proper for a maiden of the Brahmin faith to do."
Phra Ruang was a good Buddhist and a devout believer in the teachings of his own religion. Still, the Krathong looked very pretty, and he had a great desire to light the incense sticks and the tapers and send it adrift as Nopamas had intended. But he was afraid of the opinions of the people. For if he should make this offering to the spirits and not to Buddha, he was afraid the people might upbraid him and accuse him of having abandoned his religion for that of his wife. But he could not resist the temptation to see what the krathong would look like when it was illuminated, so, not without some little misgivings, he lit the lights upon the leafy boat. And still he was not satisfied, for he wanted to see it drifting away into the darkness, with the tapers reflecting their glittering light in the flowing waters. Therefore he cast about in his mind for some excuse to explain his actions, and presently he spoke in a loud voice that all around him, whether upon the landing-stage, the banks of the river, or in the boats before him, might hear, and said, "To all the property, such as temples, pagodas, and spires that are dedicated to Buddha on the banks of this river; to all his sacred relics, such as his bones and hair, wherever they may be in the subterranean regions concealed from the eye, under the river, or in places which Buddha has pressed with his feet, when moving in his might or in his natural state; to his footprints in this river, or in the ocean which receives the stream of this river, - to them I offer this krathong and its contents as worthy of the great Buddha. To him and to the relics and to his property I reverently dedicate this krathong. And whatever merit I may obtain by this deed, that merit I do not appropriate for myself, but give to the genii, in whose honour the krathong was first made by Nopamas, for I too reverence the spirits she intended to honour." Having finished this speech in defence of his actions, and having satisfied his own conscience, he placed the brilliantly illuminated float in the water, for the stream to carry away to the sea.
But all these proceedings, though very complimentary to Nopamas herself, did not in any way realise her idea as to what was due to the water-spirits from who was a Brahmin. As she had now no offering, she at once set to work to make one. She hastily gathered fresh leaves and bound them together into a square, shallow box. She cut bits of banana stem to fasten to it, and in the middle she quickly stuck a few tapers and joss sticks, borrowed from the people round about her. Into the boat she cast anything she could find, lit the tapers, made her vows and resolves mentally, and cast the toy adrift to follow the one the king had already launched. The monarch saw it, and knew who had made it so quickly, for there was but one woman in the land who had the knowledge and the skill to construct a new krathong so easily. He was loud in his praise, and the people, stirred by the example thus set them, took everything that they could find that would float, stuck lighted tapers and incense sticks in them, and put them in the water, till presently the river was all ablaze with twinkling lights, and the air was full of the joyful sound of merry laughter.
The king was highly delighted with the sight, and ordered that it should occur annually in honour of the wise and beautiful Nopamas. And he entreated the genii of the river to take possession of the hearts and minds of all his subjects at this season of the year, for ever and ever and compel them to hold a great festival, which he named for short "Loy Krathong". Loy means to send adrift, and Krathong means a little basket-like boat containing small flowers and other offerings suitable for the water spirits. There are those in the country who say that all the descendants of those who witnessed the first ceremony, are slaves of Phra Ruang, and that at the proper season their minds are forced to obey his wishes, and send adrift the taper-bearing floats.
For seven hundred years the ceremony has existed, but its details have changed with each succeeding generation. A few years after its initiation the king ceased his visitation to all temples that were not near at hand, and all the fireworks that used to be let off on his arrival were brought together to make a gorgeous display at the palace landing. The king sat on a throne to watch the general amusement, and then sent adrift one or more krathongs.
Since the foundation of Bangkok the ceremonies of Kathin and Loy Krathong have branched off from each other. During the first and second reigns of the present dynasty the nobles vied with each other to make more and more gorgeous krathongs. The third king found that this was unnecessary, as it had cost the nobles big expenses for nothing, so he stopped it as a royal ceremony, but the people still continued with it and so the Loy Krathong has since then become a public ceremony instead.'
http://slide.ly/view/c8ac234dd46ac145ec00f1e173ec888d?utm_source=Fb_ORG_Share
http://slide.ly/view/c8ac234dd46ac145ec00f1e173ec888d?utm_source=Fb_ORG_Share
Loy Krathong in Chiangmai Thailand
The kingdom of Lanna, covering much of Northern Thailand, was a thriving state long before the rise of Sukhothai and Ayuthaya and Chiang Mai traces its history back more than 700 years, making it one of the most historic cities in Thailand.
Loy Krathong dates in Chiang Mai are a bit different from other provinces. In the Thai northern dialect, Loy Krathong is called "Yiipeng" It means "Full moon night". The moon shines brightly in the sky. Water in the river is abundant. The Rainy season is gone and the weather is not too cold.
Before the festival, many people donate money and useful things to the monks at the temple near their houses. Young people have chance to make merit. This merit is called "Tan Guai Salak" and means, "Make merit together". People wear beautiful local clothes. Many Kom Loy (Big paper balloon) fly in the sky all day all night.
In the evening, people from each community organize a procession to a bank of the river and bring all the prepared Krathong Sai There they decorate banana trees with attractive flower garlands, candles, incense sticks and colorful flags.'. After that people will release the decorated banana tree as a leading krathong into the river, each community drawing lots to take their turn in floating Krathong Sai down river. Thus, the Krathong Sai float beautifully one after the other, filling the river with sparks of fire, while on the bank people beat drums and traditional instruments, singing and dancing in cheerful contest with each other.
The unusual ceremony of launching Lanna-style Kom Loy is a unique aspect of the Chiang Mai Loy Krathong festival in Thailand. Traditional belief has it that when these huge hot air balloons are set adrift and float away, so do the troubles of the persons who launched the balloon. It is as King Mongkut believed.
วันเพ็ญเดือนสิบสองน้ำ ก็นองเต็มตลิ่ง
เราทั้งหลายชายหญิง สนุกกันจริงวันลอยกระทง
ลอย ลอยกระทง...ลอย ลอยกระทง
ลอยกระทงกันแล้ว ขอเชิญน้องแก้วออกมารำวง
รำวงวันลอยกระทง รำวงวันลอยกระทง
บุญจะส่งให้เราสุขใจ บุญจะส่งให้เราสุขใจ
นี่คือเพลงที่มีชื่อเสียงจากงานเทศกาลลอยกระทง เมื่อฤดูฝนได้สิ้นสุดลงและฤดู
การท่องเที่ยวเริ่มต้นเข้ามา มีนักเดินทางที่มาเยี่ยมชมเทศกาลที่มีชื่อเสียงใน
หลายๆภูมิภาคของประเทศไทย การลอยกระทงก็จะมีการรำวง ซึ่งเป็นการเต้นรำ
ที่สวยงามในจังหวะที่ค่อนข้างเร็วสำหรับหญิงและชายในการเฉลิมฉลองประจำปีใน
วันเพ็ญเดือนสิบสอง
เทศกาลลอยกระทงนั้นมีการเฉลิมฉลองทั่วประเทศและในต่างประเทศบางพื้นที่
โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ๆมีน้ำเช่นแม่น้ำ ชายทะเล ลำคลอง และแหล่งน้ำอื่นๆ
ลอยหมายถึงปล่อยไปตามน้ำ กระทงหมายถึงเรือขนาดเล็กรูปทรงดอกบัวสร้างจาก
ใบกล้วย มีการใส่เทียน ธูปสามดอก ดอกไม้และเงินเหรียญ ผู้ลอยกระทงจะจุดธูป
เทียน อธิษฐานแล้วปล่อยกระทงลอยออกไปจนพ้นสายตา
เทศกาลนี้มีต้นกำเนิดมาจากไหน
ประเพณีไทยนี้ย้อนกลับไปในสมัยสุโขทัย เมื่อนางนพมาศ พระสนม ได้ประดิษฐ์
กระทงถวายกษัตริย์ผู้ครองกรุงสุโขทัย การลอยกระทงนี้ได้รับอิทธิพลมาจาก
เทศกาลโคมอินเดียหรือเทศกาลเทวาลัยที่จะมีการลอยสิ่งของเพื่อสักการะเทพ
ของศาสนาพราหมณ์สามพระองค์คือ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ และการ
ลอยกระทงยังสะท้อนให้เห็นความเชื่อที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชาวนาไทยที่
ขึ้นอยู่กับการไหลของน้ำ
การออกแบบของนางนพมาศและวัสดุบางอย่างที่เธอใช้ มีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง
เล็กน้อย ได้ใช้มามาถึงทุกวันนี้ กระทงแต่ละใบถูกสร้างด้วยมือโดยใช้ต้นกล้วยที่
ตัดเป็นท่อนๆ กับใบกล้วยที่พับไว้หลายๆรูปแบบ ในกระทงจะมีดอกไม้ ธูปเทียน
สิ่งของสักการะ เส้นผมหรือเล็บ
ตามตำนานบอกไว้ว่า กระทงที่สร้างขึ้นมาจากธรรมชาติถูกจัดวางไว้บนท้องน้ำด้วย
พิธีการง่ายๆ เพื่อเป็นเกียรติแต่พระแม่คงคา แสดงถึงการขอบคุณน้ำที่ให้ชีวิตและ
ขออภัยโทษจากการใช้น้ำผิดวิธี หลักศาสนาพุทธถูกนำมารวมในพิธีและผู้ที่ลอย
กระทงทั้งหมดเชื่อว่าการลอยกระทงและการถวายสิ่งสักการะจะเป็นการนำพาโชค
ร้าย โรคภัยไข้เจ็บ และความทุกข์ใดๆลอยไปกับสายน้ำ
การลอยกระทงมีรากฐานมาจากข้อมูลประวัติศาสตร์ในช่วงสมัยสุโขทัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่4 (King Mongkut) แห่ง
ราชอาณาจักรสยาม ได้ทรงพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับการลอยกระทงครั้งแรกในปี
พ.ศ. 2406
รัชกาลที่4 ทรงเป็นผู้ที่เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างมากและใช้เวลาส่วน
ใหญ่ในการบวชเรียน พระองค์ทรงได้รับการศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์จากตะวันตก
และทรงเชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ พระองค์ยังทรงเป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์และ
ดาราศาสตร์ไทยและทรงเป็นนักปรัชญาอีกด้วย พระองค์สามารถอ่านดวงดาว
ทำนายชะตาราศี ทำนายการเกิดสุริยุปราคา และทรงทำหน้าที่เป็นนักพยากรณ์
อากาศ ในฐานะที่เป็นผู้ก่อตั้งธรรมยุตินิกายสำหรับพระสงฆ์ในประเทศไทย
พระองค์ทรงใช้ความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ในการจัดวันที่ทีพิธีกรรมทางศาสนา ความมีชื่อเสียงของพระองค์ท่านต่อชาวตะวันตกมาจากภาพยนตร์อเมริกันเรื่อง
เทศกาลลอยกระทงครั้งแรก
เรื่องราวต่อไปนี้เป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 4 (King Mongkut)ปีพุทธศักราช 2406
ในรัชสมัยของสมเด็จพระร่วง มีพราหมณ์ท่านหนึ่งมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด ท่านมี
ชื่อเสียงเป็นที่รู้จักทั้งในเมืองหลวงและประเทศใกล้เคียง ไม่มีศาสตร์สาขาวิชาใดที่
ท่านไม่ชำนาญ ท่านสามารถอ่านดวงดาว ทำนายชะตาราศี ทำนายการเกิด
สุริยุปราคา และทำหน้าที่เป็นผู้พยากรณ์อากาศ ท่านมีความเชี่ยวชาญในเรื่องความ
ลึกลับของทฤษฎีและปฏิบัติของการแพทย์ ท่านรู้จักชื่อ ถิ่นกำเนิด และคุณสมบัติที่
ดีของพืชทั้งหมดที่ปลูกในแถบนั้น ในฐานะที่ท่านเป็นนักศาสนศาสตร์ ท่านสามารถ
อธิบายถึงต้นกำเนิดของทุกสิ่งและบรรยายถึงคำสอนอันลึกซึ้งของหลายๆศาสนาที่
ท่านรู้จัก เป็นผู้ที่มีอำนาจในทางกฎหมาย ท่านสามารถบอกถึงธรรมเนียมของคน
หลายๆคน และวางแผนสำหรับองค์กรรัฐที่มั่นคง ในฐานะที่เป็นนักปฏิบัติตามแบบ
โบราณที่ไม่มีผู้ใดทัดเทียมและล่วงรู้ข้อมูลทั้งหมดของการเติบโตของทุกศาสนา
และการปฏิบัติทางสังคม บุคคลเช่นนี้เป็นผู้อยู่ในสายพระเนตรของพระมหากษัตริย์
ผู้ที่ทรงใช้ความรู้ของพราหมณ์ในการบริหารราชกิจต่างๆ ทรงมอบเกียรติยศและ
ทรงแต่งตั้งให้พราหมณ์ท่านนี้ทำหน้าที่สำคัญๆหลายอย่าง ในระหว่างกิจการ
หลายๆอย่างที่ดำเนินการอยู่มีสองตำแหน่งงานของท่านที่ไม่มีผู้ใดเทียมคือ
นักปรัชญาผู้รอบรู้ผู้นี้มีบุตรสาวงามนามว่านพมาศ เธอเป็นสตรีสาวผู้สง่าง่ามและมี
ความเฉลียวฉลาดเช่นเดียวกับบิดาของเธอ เธอยังมีความชำนาญในศิลปวิทยาการ
หลายแขนง ความงดงามของเธออยู่ในทุกบทเพลง ทุกคนกล่าวถึงนามของเธอ ทั้ง
ประเทศมีความกระตือรือร้นที่จะชื่นชมในตัวเธอ เธอมีความน่าหลงใหลและมี
ความสามารถถึงขนาดที่ว่าผู้หญิงเพศเดียวกันกับเธอไม่มีความอิจฉาริษยาแต่มี
ความรู้สึกภาคภูมิใจที่ว่าผู้หญิงคนหนึ่งมีกริยามารยาทดีงาม เธอได้เรียนรู้ทุกสิ่งทุก
อย่างจากพ่อของเธอและสนทนาปราศรัยในทุกๆเรื่องด้วยสติปัญญาอันเปรื่องปราด
เธอเป็นกวีที่เฉลียวฉลาด เป็น นักดนตรีที่มีทักษะและศิลปินที่มีพลังมาก เมื่อเหล่า
กวีต่างเหน็ดเหนื่อยจากการบรรยายความงามและพรสรรค์ของเธอ พวกเขาเริ่มร้อง
เพลงเพื่อเป็นเกียรติที่เธอควรได้รับ เกียรติที่สูงที่สุดคือการเป็นพระสนมของ
กษัตริย์ วันหนึ่งกษัตริย์ทรงสดับฟังบทเพลงจากนักดนตรีที่ร้องเพลงอย่างมี
ความสุข เนื้อหาของเพลงเกี่ยวกับนางนพมาศที่เหมาะจะเป็นสนมขององค์กษัตริย์
บทเพลงนี้เป็นการหยามความคิดที่ว่าจะให้เธอแต่งงานกับผู้ที่มีศักดิ์ด้อยกว่า และ
เป็นการสรรเสริญคุณค่าของเธอจนถึงที่สุด ถึงขนาดที่ว่าพระราชาที่ฟังเพลงอยู่เกิด
ความอยากรู้อยากเห็นถึงที่สุด พระองค์เสด็จพระราชดำเนินกลับพระราชวังก็มี
คำสั่งเรียกตัวเหล่านางกำนัลแล้วตรัสเล่าทุกสิ่งที่พระองค์ทรงสดับมาแล้วจึงตรัส
ถามว่ามีใครรู้เรื่องของสตรีนางนี้บ้าง ด้วยความอยากรู้อยากเห็นของพระราชาเมื่อ
เหล่านางกำนัลกลับมาตอบคำถามว่ามีบทเพลงนั้นจริง แต่ไม่มีคำใดอธิบายได้
อย่างเพียงพอถึงเสน่ห์ของบุตรสาวของพราหมณ์ พระองค์ได้ส่งคณะหญิงสูงศักดิ์
ไปสู่ขอนพมาศจากบิดาของเธอตามธรรมเนียมของประเทศ
คณะหญิงสูงศักดิ์ได้เดินทางไปและหน้าที่ก็เสร็จสมบูรณ์ทั้งหมด ที่ปรึกษาอาวุโสผู้
ซึ่งได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระมหากษัตริย์มีความยินดีที่จะมีโอกาส
แสดงความขอบคุณด้วยวิธีการนี้จึงได้มอบบุตรสาวให้กับกษัตริย์ผู้ซึ่งต่อมาดูแลเธอ
ด้วยความรักและนุ่มนวล ในเวลาต่อมาเธอได้เป็นหัวหน้าของนางสนมกำนัล
ทั้งหมดในปราสาท ทั้งคู่มีความสุขที่อยู่ด้วยกัน เมื่อใดก็ตามที่นพมาศไม่ได้ทำ
หน้าที่ของเธอในวัง เธอก็จะไปสนทนากับกษัตริย์ สร้างความยินดีให้กับพระองค์
ด้วยสติปัญญาและความรอบรู้ ให้ความบันเทิงด้วยบทเพลงและบทกวี
หลังจากพิธีอภิเษกสมรสเสร็จสิ้นไม่นานก็มีพิธีทอดกฐิน พระราชาทรงปรารถนาให้
นางนพมาศติดตามไปร่วมพระราชพิธีทางน้ำด้วย แม้ว่านางนพมาศจะอภิเษกสมรส
กับกษัตริย์ผู้ทรงเป็นพุทธมามกะ แต่เธอก็ยังคงยึดมั่นในความเชื่อพราหมณ์และ
ยังคงบูชารูปเคารพและจิตวิญญาณตามคำสั่งสอนของบิดาที่สอนเธอเมื่อวัยเยาว์
เป็นธรรมเนียมของพราหมณ์ที่ว่า ทุกสิ้นปีทุกคนจะต้องเตรียมสิ่งของที่เหมาะสมไป
ถวายพระแม่คงคาเพื่อที่จะได้รับการอภัยโทษและเป็นการชำระบาป ทุกสิ้นปีเมื่อ
ทุกคนเตรียมพร้อมสำหรับงานทอดกฐิน นางนพมาศได้เตรียมทำพิธีทางศาสนา
ของเธออย่างลับๆและด้วยจุดมุ่งหมายนี้เองเธอได้สร้างสิ่งที่มีรูปร่างเล็กคล้ายเรือ
แล้วเรียกว่า"กระทง"ทำมาจากใบกล้วย แล้งใส่เปลือกข้าวเพื่อทำให้ลอยแบบ
สมดุล เธอถักใบกล้วยเข้าด้วยกันแล้วปักเข็มรอบขอบเรือเล็กๆเพื่อเป็นการตกแต่ง
เธอแผ่ใบกล้วยไว้บนฐาน บนฐานสีเขียวมีภาชนะใส่เมล็ดพลู ใบพลู ข้าวหุง และ
ดอกไม้หอม เธอเลือกผลไม้สดหลายชิดเช่นมะละกอ ฟักทอง แล้วนำมาแกะสลัก
เป็นตัวแทนของผลไม้ ดอกไม้ และสัตว์ได้อย่างคล่องแคล่ว แล้วมัดรวมกันเป็น
รูปทรงกรวยแล้วจัดไว้ตรงกลาง เธอแต้มน้ำหวานจากต้นไม้อื่นให้ดอกไม้ปลอม
เพื่อทำให้เหมือนดอกไม้จริง เธอได้รัดภาพเขียนภาพหนึ่งและตกแต่งด้วยฉัตร
กระดาษ ธงขนาดเล็กของเล่น ธูปเทียนหอม
คืนแรกของงานทอดกฐิน เรือได้ถูกจัดเตรียมอยู่หน้าปราสาทตามปกติ เรือ
ท้องแบนพร้อมกับบัลลังก์แก้วมาเพื่อรอการเสด็จพระราชดำเนินของกษัตริย์ ทันใด
นั้นเองความสนใจของทุกคนถูกดึงดูดด้วยวัตถุรูปร่างแปลกแล่นไปยังแท่นที่
ประทับ นั่นคือกระทงที่นางนพมาศได้ประดิษฐ์ขึ้น เธอมีความตั้งใจที่จะจุดธูปเทียน
หอม ปล่อยให้ล่องลอยนำพาข้อความไปหาจิตวิญญาณ ในเวลาเดียวกันคณะของ
กษัตริย์ควรจะไปถึงที่วัด แต่เมื่อกระทงมาถึงแท่นที่ประทับ นางกำนัลทั้งหลาย
รวมทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ที่ไปรวมตัวรอกษัตริย์อยู่ที่นั่นก็ล้อมวงดูกระทงแล้วขอ
อนุญาตตรวจสอบดู นางนพมาศจำเป็นต้องอธิบายถึงการออกแบบและความหมาย
ของงานฝีมือของเธอ ทุกคนสนใจแต่ของเล่นอันน่ารักโดยไม่ได้สังเกตการมาถึง
ของกษัตริย์ พระองค์ทรงเห็นผู้คนมากมายจึงเกิดความสงสัยว่าอะไรเป็นสาเหตุ
ของความน่ายินดีและความน่าแปลกใจของพวกเขา มีบางคนกราบทูลต่อพระองค์
ว่าทุกคนกำลังยุ่งอยู่กับการชื่นชมกระทงที่นางนพมาศทำ พระองค์จึงทรงมีรับสั่งให้
นำสิ่งนั้นมาเผื่อว่าพระองค์เคยเห็นหรือได้ยินมาแล้ว เมื่อพระองค์ได้เห็นก็ไม่
สามารถมาหาคำพูดที่เพียงพอที่จะอธิบายความชมชอบทักษะการออกแบบและ
การสร้าง พระองค์จึงทรงขออนุญาตเก็บไว้ นางนพมาศคุกเข่าตรงหน้าและ
มอบกระทงที่ตกแต่งแล้วให้ พระองค์ตรัสชมผลงานอีกครั้งและตรัสชมนางนพมาศ
ผู้ประดิษฐ์ด้วย เมื่อพระองค์ตรวจสอบแล้วท่านทรงเข้าใจถึงจุดประสงค์จึงตรัสว่า
"สิ่งนี้เป็นเครื่องสักการะของท่านผู้หญิงผู้นับถือพราหมณ์"นางนพมาศตอบท่านไป
ว่า "เป็นเช่นนั้นจริง ข้าพเจ้าเป็นพราหมณ์ จนกระทั่งบัดนี้ พระองค์มิได้ทรง
ขัดขวางความเชื่อทางศาสนาของข้าพเจ้า ในช่วงฤดูนี้ของปี ข้าพเจ้าสร้างกระทง
ด้วยความตั้งใจลอยตามน้ำเพื่อเป็นเครื่องสักการะพระแม่คงคา สิ่งนี้ถูกต้องและ
เหมาะสมกับสตรีที่นับถือศาสนาพราหมณ์
พระร่วงทรงเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีและทรงเป็นผู้นับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด แต่
กระนั้น กระทงก็มีความงดงาม และพระองค์ทรงตั้งพระทัยเป็นอย่างมากที่จะจุดธูป
เทียนหอมแล้วปล่อยไปตามน้ำเช่นเดียวกับความตั้งใจของนางนพมาศ แต่พระองค์
ทรงเกรงความเห็นของประชาชนถ้าพระองค์ถวายเครื่องสักการะต่อจิตวิญญาณ
แทนที่จะเป็นพุทธบูชา พระองค์ยังทรงเกรงอีกว่าประชาชนจะประณามและกล่าวหา
ว่าพระองค์ละทิ้งศาสนาของตนไปหาศาสนาพราหมณ์ แต่พระองค์ไม่สามารถ
ต้านทานความรู้สึกอยากเห็นว่ากระทงเป็นอย่างไรเมื่อยามจุดไฟ โดยที่ไม่มีความ
สงสัยแม้เพียงน้อยนิด พระองค์ทรงจุดเทียนบนเรือใบไม้แต่ก็ยังรู้สึกไม่พอพระทัย
ท่านยังต้องการให้กระทงลอยไปในความมืด แสงไฟจากกระทงสะท้อนผิวน้ำ
พระองค์ทรงครุ่นคิดถึงคำถ้อยแถลงที่จะอธิบายการกระทำของท่าน พระองค์ตรัส
ด้วยเสียงอันดังต่อพสกนิกรที่อยู่รอบข้างไม่ว่าจะบริเวณแท่นที่ประทับ ริมฝั่งแม่น้ำ
หรือเรือที่แล่นผ่านหน้าพระองค์แล้วจึงตรัสว่า"ทรัพย์สินทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นวัด
เจดีย์ พระสถูป ที่สร้างอยู่ที่ริมน้ำเพื่อเป็นการอุทิศแด่พระพุทธเจ้า พระบรม
สารีริกธาตุ ไม่ว่าจะอยู่พื้นที่ใต้ดินปกปิดจากสายตา ใต้แม่น้ำ สถานที่พระพุทธเจ้า
ทรงประทับรอยพระพุทธบาท ถึงมหาสมุทรที่ได้รับกระแสน้ำจากแม่น้ำแห่งนี้
ข้าพเจ้าขอถวายกระทงและเครื่องสักการะทั้งหลายที่มีคุณค่าแด่พระพุทธเจ้า
ข้าพเจ้าขออุทิศกระทงใบนี้ด้วยความเคารพแด่พระพุทธเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธ์
ทั้งหลาย และบุญกุศลใดที่ข้าพเจ้าได้รับจากการกระทำนี้ บุญนั้นไม่เหมาะสม
สำหรับข้าพเจ้า โปรดมอบให้แก่พระแม่คงคาทีได้รับเกียรติจากกระทงที่ถูกสร้าง
โดยนพมาศ ข้าพเจ้าก็เช่นเดียวกันที่เคารพพระแม่คงคาดังเช่นที่นางนพมาศตั้งใจ
นับถือ" หลังจากเสร็จสิ้นคำพูดเพื่อปกป้องตนเองแล้ว พระองค์ทรงปล่อยกระทงที่
สุกสว่างไป ให้สายน้ำพัดพาสู่ทะเล
แต่ด้วยขั้นตอนทั้งหมดนี้ แม้ว่าจะมีคำสรรเสริญนางนพมาศ แต่ก็ไม่มีใครตระหนัก
ว่าในฐานะที่เธอเป็นพราหมณ์ที่ต้องมีของสักการะพระแม่คงคา ตอนนี้เธอไม่มีของ
ถวาย เธอจึงเริ่มทำขึ้นมาใหม่อีกใบ เธอรีบรวมใบไม้สดแล้วมัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมแบบ
กล่องบางๆ เธอตัดก้านกล้วยมาบางส่วนแล้วมัด ในช่วงกลางเธอเสียบธูปเทียนที่
ยืมมาจากคนรอบข้างอย่างรวดเร็ว เธอหาทุกสิ่งที่ใช้ได้จุดธูปเทียนแล้วอธิษฐาน
แล้วตัดสินใจส่งกระทงลอยน้ำตามกระทงที่กษัตริย์ปล่อยออกไป กษัตริย์ทรงเห็น
และทรงเข้าพระทัยว่าผู้ที่ทำได้รวดเร็วมีเพียงสตรีคนเดียวที่มีความรู้และทักษะ
สร้างกระทงได้อย่างรวดเร็ว ท่านตรัสชื่นชมด้วยเสียงอันดัง ประชาชนที่ดูตัวอย่างก็
เริ่มที่จะหาทุกสิ่งที่ลอยน้ำได้ เสียบธูปเทียนลงในกระทง แล้วปล่อยลงน้ำ ในตอนนี้
แม่น้ำเต็มไปด้วยแสงกระพริบ ในบรรยากาศมีเสียงแห่งความสนุกสนานรื่นเริง
พระราชาทรงมีความรู้สึกยินดีและทรงมีรับสั่งว่าการลอยกระทงควรจะมีทุกปีเพื่อ
เป็นเกียรติแก่นางนพมาศผู้งดงามและเฉลียวฉลาด พระองค์ทรงอ้อนวอนให้พระแม่
คงคารับทรัพย์สมบัติของหัวใจและจิตใจในช่วงฤดูกาลนี้ของปีตลอดไป พระองค์
ทรงมีรับสั่งให้ประชาชนจัดงานเทศกาลให้ยิ่งใหญ่และทรงเรียกชื่อสั้นๆ ว่า
"ลอยกระทง"ลอยหมายถึงปล่อยไปตามน้ำ กระทงหมายถึงเรือที่มีรูปร่างเหมือน
ตะกร้าขนาดเล็กที่มีดอกไม้เล็กๆและของสักการะที่เหมาะสมสำหรับพระแม่คงคา
ยังมีบางคนกล่าวไว้ว่าผู้สืบเชื้อสายของพยานในตอนจัดพิธีครั้งแรกนั้นคือข้าทาส
ของพระร่วง ในช่วงฤดูนั้นจิตใจของพวกเขาถูกบังคับให้เชื่อฟังพระประสงค์ และ
ต้องปล่อยกระทงไปหลายใบ
เป็นเวลากว่ามากกว่า700ปีแล้วที่พิธีนี้ถือกำเนิดมา แต่รายละเอียดก็ได้
เปลี่ยนแปลงไปในชั่วอายุคนรุ่นต่อๆมา สองสามปีต่อมาหลังการจัดงานครั้งแรก
กษัตริย์ทรงยุติการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมชมวัดที่ไม่ได้อยู่ใกล้เคียง ดอกไม้ไฟ
ทั้งหมดที่จะใช้ตอนที่พระองค์เสด็จมาถึงถูกนำมาจุดให้สวยงามที่พระแท่นบริเวณ
พระบรมมหาราชวัง พระองค์ทรงนั่งประทับบนบัลลังก์แล้วทอดพระเนตรงาน
มหรสพทั่วไป จากนั้นทรงปล่อยกระทงออกไปสองสามใบ
ตั้งแต่การก่อตั้งกรุงเทพ พิธีการทอดกฐินและการลอยกระทงถูกแยกออกจากกัน
ในช่วงรัชกาลที่1และ2ของราชวงศ์จักรี ผู้คนชั้นสูงต่างแข่งขันประกอบกระทง
สวยงาม รัชกาลที่3 ทรงเห็นว่าไม่มีความจำเป็นเพราะผู้คนชั้นสูงเสียเงินทองโดย
ไม่มีประโยชน์ พระองค์จึงทรงสั่งระงับงานพระราชพิธีลอยกระทง แต่ประชาชนก็ยัง
การลอยกระทงในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
อาณาจักรล้านนา มีพื้นที่ส่วนมากบนภาคเหนือของไทย เป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองมา
ก่อนการเกิดกรุงสุโขทัย จังหวัดอยุธยาและเชียงใหม่สามารถสืบย้อนหลัง
ประวัติศาสตร์ไปได้มากกว่า 700 ปี ทำให้เชียงใหม่เป็นเมืองที่น่าสนใจที่สุดเมือง
หนึ่งในประเทศไทย
วันลอยกระทงในจังหวัดเชียงใหม่แตกต่างจากจังหวัดอื่นเล็กน้อย ภาษาถิ่นทาง
เหนือของไทยเรียกงานลอยกระทงว่า"ยี่เป็ง" หมายถึงคืนวันพระจันทร์เต็มดวง
พระจันทร์ส่องแสงสุกสว่างบนท้องฟ้า น้ำในแม่น้ำมีมากมาย ฤดูฝนผ่านพ้นไปแล้ว
และอากาศไม่หนาวจนเกินไป
ก่อนถึงวันงาน ผู้คนมากมายบริจาคเงินและถวายสิ่งของที่เป็นประโยชน์ให้กับพระที่
วัดใกล้บ้าน คนหนุ่มสาวมีโอกาสทำบุญ บุญนี้เรียกว่าตานก๋วยสลาก หมายถึงการ
ทำบุญร่วมกัน ผู้คนแต่งกายด้วยชุดพื้นเมืองที่สวยงาม โคมลอยหลายใบลอยบน
ท้องฟ้าตลอดวันตลอดคืน
ในตอนเย็นวันลอยกระทง ผู้คนจากหลายๆชุมชนก็จะมาที่ริมแม่น้ำและเตรียม
กระทงสาย พวกเขาตกแต่งต้นกล้วยด้วยพวงมาลัยดอกไม้ ธูปเทียนหอม ธงหลาก
สี หลังจากนั้นผู้คนจะปล่อยกระทงต้นกล้วยที่เป็นกระทงนำลงไปก่อน ในแต่ละ
ชุมชนก็จะปล่อยกระทงตามกันไปตามแม่น้ำ กระทงสายลอยอย่างสวยงามทีละใบๆ
ทำให้แม่น้ำมีไฟสว่างไสว ผู้คนที่อยู่ริมแม่น้ำตีกลองและเล่นดนตรีพื้นเมือง แข่งขัน
ร้องรำทำเพลงอย่างมีความสุข
พิธีการปล่อยโคมลอยแบบล้านนาเป็นลักษณะเฉพาะของเทศกาลลอยกระทงของ
เชียงใหม่ ความเชื่อดั้งเดิมมีอยู่ว่าเมื่อโคมลอยยักษ์ลอยขึ้นไปในท้องฟ้า ปัญหา
ของผู้ปล่อยโคมลอยก็หายไปด้วย รัชกาลที่4ทรงเชื่อเช่นนั้น
No comments:
Post a Comment