Sunday, February 24, 2019

Wat Tham Talod วัดถ้ำตลอด




Songkhla Province
DescriptionSongkhla is a province in southern Thailand bordering Malaysia and the Gulf of Thailand. 


The name Saba Yoi : its original name means 'wind' in Malay.

The area of Saba Yoi was administered by the Thepha District. It was upgraded to be Ba Hoi minor district (king amphoe) in 1924. In 1942 the government moved the district office to Tambon Mong and renamed the minor district to Saba Yoi. It was upgraded to a full district in 1956









                                                โกลาตานี   ท่านตากล้องของเรา












































Wat Tham Talod is a large cavern that burrows through to the other side of the mountain. Inside are ancient Buddha images constructed from wood and encased in cement dating back several centuries. Beside these, there are over 100 different Buddha images and a gigantic, 6-foot tall giant statue guarding the cave entrance.










โต๊ะหยัง ..และพระภายในถ้ำ ที่ยักษ์เฝ้าประตูทางขึ้น 




















🙏🏻 ❤️วัดถ้ำตลอด..ไปกราบพระอีกครา❤️🙏🏻 (อาทิตย์ 24 กุมภาพันธ์ 2562 อยู่ระหว่างการบูรณะ โดยกรมศิลปกร))

วัดถ้ำตลอด สงขลา โดย Unseen Songkhla
วัดถ้ำตลอด สงขลา ตั้งอยู่ที่บ้านถ้ำตลอด หมู่ที่ 6 ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย ห่างจากที่ว่าการอำเภอสะบ้าย้อยประมาณ 25 กม. ตามถนนสาย รพช. (ต.สะบ้าย้อย-เขาแดง) วัดถ้ำตลอด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย บริเวณวัดมีถ้ำสวยงามมาก เรียกว่า ” ถ้ำตลอด ” เป็นอุโมงค์ขนาดใหญ่ผ่านทะลุออกไปอีกฟากหนึ่งของภูเขา บริเวณถ้ำมี 3 คูหา มีพระพุทธรูปเก่าแก่ สร้างด้วยไม้โบกปูนซีเมนต์ มีอายุหลายร้อยปี

วัดแห่งนี้ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2219 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ตั้งแต่ พ.ศ. 2275 เป็นที่เคารพนับถือของราษฎรโดยทั่วไป มีพระพุทธรูปปางสมาธิ ปางไสยาสน์ทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ประมาณ 100 องค์ และปากถ้ำมีรูปยักษ์ขนาดใหญ่ สูง 6 เมตร สำหรับบริเวณถ้ำมีอากาศร่มรื่นเย็นสบายเหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ

พระพุทธรูปปางไสยาสน์ วัดถ้ำตลอด สงขลา ประวัติความเป็นมา
ตามประวัติวัดได้บันทึกไว้ว่าวัดถ้ำตลอดนี้มีมาก่อน พ.ศ. 2219 ตามตำนานเล่าว่า วัดนี้ชาวไทยมุสลิมชื่อโต๊ะหยัง ซึ่งศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นผู้สร้างขึ้น ในอดีตวัดนี้เคยมีโบราณสถานวัตถุศิลปวัตถุที่สำคัญภายในวัดได้แก่ พระพุทธรูปปางไสยาสน์ประดิษฐานภายในถ้ำตลอด

ความสำคัญทางประวัติศาสตร์โบราณคดีวัฒนธรรม มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ประดิษฐานอยู่ภายในถ้ำ สิ่งสำคัญที่ขึ้นทะเบียน

โบสถ์หน้าถ้ำ
พระพุทธรูปปางไสยาสน์, นั่ง
อายุสมัย พุทธศตวรรษที่ 25 กรมศิลปากร ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม 2478

การเดินทางไปยัง วัดถ้ำตลอด สงขลา
สถานที่ตั้ง : เลขที่: 10/1 อำเภอบ่อยาง ตำบลเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์: 90000
รถส่วนตัว : จาก อ.เทพา ใช้ทางหลวงหมายเลข 4085 ไปทาง อ.สะบ้าย้อย ผ่านสี่แยกลำไพล ขับตรงไปจนถึงสี่แยกป้อมตำรวจ(สะบ้าย้อย) ให้เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 4095 ตรงไปเรื่อยๆ ผ่านบ้านคูหา บ้านไร่ ไปประมาณ 2.5 กิโลเมตร จะเห็นทางเข้าวัดอยู่ซ้ายมือ
รถประจำทาง : ให้ขึ้นรถสายหาดใหญ่-ยะลา

น่าสนใจ น่าแวะภายใน วัดถ้ำตลอด สงขลา
ถ้ำตลอด เป็นถ้ำหินปูน เมื่อขึ้นบันไดไปยังคูหาแรก จะเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธไสยาสน์ขนาดใหญ่ ให้ความรู้สึกถึงความศักดิ์สิทธิ์ เพราะบรรยากาศโดยรอบไม่มีการตกแต่งอย่างวิจิตรงดงาม ทางวัดมีธูปเทียนไว้สำหรับนมัสการพระพุทธไสยาสน์ด้วย

หากเดินต่อไปจะถึงอีกคูหาหนึ่งซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยองค์ ตั้งเรียงรายตลอดทางเดนภายในถ้ำ แต่ละองค์มีขนาดและปางต่างกัน มีทั้งปางสมาธิ ปางไสยาสน์ ปางห้ามญาติ เป็นต้น หากเดินลึกเข้าไปอีกจะไปทะลุที่ทางออกอีกทางหนึ่ง 
(ขอบคุณเจ้าของข้อมูลครับ โกลา ตานี)
































                                              คุณโฉม ภูเก็ต  ท่านโกลา ตานี 





Friday, February 22, 2019

Chao Mae Lim Ko Niew: เจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว







Pattani used to be one of the important port cities in Southeast Asia, where two great cultures–Chinese and Muslim–met, merged and prospered. In the fourteenth century Pattani was an entrepot for the distribution of porcelain, iron, copper and other goods from China to different parts of Southeast Asia. Traders from Borneo purchased a lot of Chinese metals from Pattani. Muslim traders settled down and prospered in Pattani around 1520 (ฺB.E. 2063). The Grand mosque of Pattani was built by Chinese builders at the end of the sixteenth century using brick as the main construction material. The building style was influenced by the great numbers of Chinese, West Asians and Europeans who settled in the Southeast Asian port cities since 1500. They produced hybrids in terms of architectural styles, construction methods and forms.

ปัตตานีเคยเป็นหนึ่งในเมืองท่าที่สำคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นที่ที่วัฒนธรรมที่ยิ่งใหญ่คือจีนและมุสลิมมาเจอกัน หลอมรวมกันและเจริญรุ่งเรือง ในศตวรรษที่ 14 ปัตตานีเคยเป็นศูนย์จัดจำหน่ายเครื่องปั้นดินเผา เหล็ก ทองแดงและสินค้าต่างๆ จากประเทศจีนไปยังอีกหลายๆ แห่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ่อค้าจากแถบบอร์เนียวมาซื้อเหล็กประเทศจีนจากปัตตานีเป็นจำนวนมาก พ่อค้าชาวมุสลิมมาตั้งรกรากและมีชีวิตที่รุ่งเรืองอยู่ที่ปัตตานีในช่วงปีพ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1520) มัสยิดใหญ่ปัตตานีถูกสร้างขึ้นโดยช่างก่อสร้างชาวจีนในช่วงตอนปลายศตวรรษที่ 16 โดยใช้ก้อนอิฐเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก รูปแบบการก่อลร้างได้รับอิทธิพลมาจากชาวจีน ชาวเอเชียตะวันตก และชาวยุโรปที่มาตั้งรกรากในเมืองท่าเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2043 (ค.ศ.2043). ใช้สไตล์ วิธีการก่อสร้าง และแบบก่อสร้างสถาปัตยกรรมแบบผสม    

In the sixteenth century, Pattani was ruled by Lin Tao-chien, a famous Chinese Muslim pirate. His sister, Lin Kuniang (or Lim Ko Niao) came to Pattani from Swatow China to persuade her brother to abandon his religion and return to China. Because Lin Tao-chien had married a daughter of the local Malay chieftain and had harboured greater ambitions, he refused. The desperate Lin Kuniang committed suicide and cursed the mosque that was built near the location of her death at Ban Kruesae.




ในศตวรรษที่ 16 ปัตตานีอยู่ในการปกครองของหลินเทาเฉียน โจรสลัดชาวจีน-มุสลิมที่มีชื่อเสียง น้องสาวหลินกูเหนียง (ลิ้มกอเหนี่ยว) เดินทางจากเมืองซัวเถาประเทศจีนมาถึงปัตตานีเพื่อชักชวนพี่ชายให้เลิกเป็นมุสลิมและเดินทางกลับประเทศจีน เนื่องจากหลินเทาเฉียนแต่งงานกับหญิงชาวมลายูที่เป็นลูกสาวของหัวหน้าหมู่บ้านและด้วยความที่มีความทะเยอทะยานจึงได้ปฎิเสธน้องสาวไป หลินกูเหนียงที่ตกอยู่ในความอับจนหนทางจึงตัดสินใจปลิดชีพตัวเอง ก่อนเสียชีวิตได้ทำการสาปแช่งมัสยิดที่สร้างอยู่ใกล้บริเวณที่เธอเสียชีวิตแถวบ้านกรือเซะ

Ban Kruesae is located about seven kilometers east of Pattani, where the old mosque and some Chinese tombs are still standing. According to local legends, because of the curse, it was never possible to complete the construction of the mosque. The mosque is believed to be built from around 1578 to 1589. Its architectural style bears semblance to the Persian style mosque in Quanzhou, China, with its roof and walls left unfinished.



Soray Deng Photographer

บ้านกรือเซะตั้งอยู่ทางตะวันออกะยะทางประมาณ 7 กิโลเมตรจากของเมืองปัตตานี เป็นสถานที่ยังคงมีีมัสยิดเก่าแก่และฮวงซุ้ยสุสานจีน จากตำนานเล่าขานกันในท้องถิ่น เป็นเพราะคำสาปทำให้ไม่สามารถก่อสร้างมัสยิดให้แล้วเสร็จได้ มัสยิดแห่งนี้เชื่อว่าสร้างขึ้นในช่วงปีพ.ศ. 2121 - 2132 รูปแบบสถาปัตยกรรมมีความคล้ายคลึงกับมัสยิดแบบเปอร์เซียในเมืองกวานโจว ประเทศจีน โดยที่หลังคาและผนังถูกปล่อยทิ้งไว้แบบไม่เสร็จสมบูรณ์ 

Cr. Johannes Widodo is an associate professor at the Department of Architecture, National University of Singapore. 













































Thank you for all photos and video clips 

temp song