Monday, October 23, 2017

The One


King Chulalongkorn



                                                                                     Janine Yasovant : Writer


In 1891, the kingdom of Siam was a small country governed by the Chakri dynasty. Chulalongkorn, was its king and he was called "Phra Piya Maharaj"which means the beloved king. He was also a great writer.




Born on 20 September 1853, he was the son of the King Monkut, the progressive and visionary monarch who opened Siam to the world and who was the focus of Anna Leonowens' self-serving, self-indulging portrait, The King and I. 

In October 1868, as the young Prince Chulalongkorn assumed the throne of Siam, European superpowers sought new colonies throughout Asia. By 1908, England conquered India and Burma as well as the colonies in the south of Siam such as Galantan, Tranganu, Palis, Saiburi and Penang, the French dominated Laos, Cambodia and Vietnam, whereas Indonesia was subdued by the Dutch. But Siam remained carefully balanced between the competing, predatory powers.

Monkut had achieved this delicate balance by studying European cuture and its arts and sciences. He purposefully educated his son and shaped him to become a preceptive and modern ruler to face the challenges of a changing and intrusive world.

As king, Chulalongkorn introduced that knowledge and technology to Siam. He traveled to Europe to experience and learn first hand. With his second jorney in 1896, he acquired and brought the train to Siam and completely modernized the country's transportation.

The changes wrought by this young, adventurous ruler were dramatic and far-reaching: healthcare, education, decentralized authority, the arts, and many other aspects of Siamese culture and everyday life.

During his life, King Chulalongkorn wrote and published many books including poetry, drama, a western-style cookbook, and his journals. Among the latter is perhaps the most famous and important journal of its time, still today, in Thailand: Klai Baan (Away from Home).










It was written as a journal to his daughter and was later published and became one of the most influential and precious historical documents in Siam and after the 1930's in Thailand.










                                                      





                                                                     จานีน ยโสวันต์


ในปีพ.ศ. 2434 ราชอาณาจักรสยามเป็นประเทศเล็กๆที่มีการปกครองโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งราชวงค์จักรี มีผู้เรียกพระนามของพระองค์ว่า "พระปิยะมหาราช" หมายความว่าเป็นพระราชาที่เป็นที่รักยิ่ง พระองค์ยังทรงเป็นนักประพันธ์ที่ยอดเยี่ยมอีกด้วย


พระองค์ทรงพระราชสมภพในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2396 ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงเป็นผู้ที่เปิดประเทศสยามออกสู่สายตาชาวโลก และนางแอนนา ลีโอโนเวนส์ ผู้แต่งหนังสือเรื่อง "The king and I" ได้พาดพิงถึงภาพลักษณ์ของพระองค์ว่าเป็นผู้คิดถึงเรื่องของตนและเอาแต่ใจตัวเอง







                                   https://www.scene4.com/archivesqv6/jan-2009/index.html




ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2411 เมื่อเจ้าฟ้าชายเถลิงราชสมบัติประเทศสยามเป็นเวลาฝ่ายมหาอำนาจตะวันตกกำลังล่าอาณานิคมทั่วทวีปเอเชีย จนถึงปีพ.ศ. 2451 อังกฤษได้ครอบครองประเทศอินเดีย พม่า และดินแดนทางด้านใต้ของสยามเช่น กลันตัน ตรังกานู ปะลิส ไทรบุรี และปีนังฝรั่งเศสปกครองประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม อินโดนิเซียอยู่ในความควบคุมของชาวดัตช์ แต่สยามก็ยังคงสภาพสมดุลระหว่างชาติมหาอำนาจที่กำลังแข่งขันกันอยู่ได้



พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาถึงวัฒนธรรม ศิลปะ และวิทยาศาสตร์ของยุโรปและทรงตั้งใจอบรมสั่งสอนพระราชโอรสให้เป็นนักปกครองที่หยั่งรู้และทันยุคสมัยเพื่อรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไป



ในฐานะกษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำความรู้และเทคโนโลยีเข้ามาสู่สยาม พระองค์เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่สองในปีพ.ศ. 2439 และทรงนำรถไฟเข้ามาให้กับสยาม และเป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการเดินทางและขนส่งของประเทศให้ทันสมัย



ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดมาจากพระมหากษัตริย์หนุ่มนักผจญภัยผู้นี้นั้นน่าตื่นเต้นและเข้าถึงในที่ห่างไกล สุขภาพ การศึกษา การกระจายอำนาจศิลปะ และอีกหลายๆ อย่างที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและชีวิตประจำวันของชาวสยาม









พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์หนังสือหลายเรื่องรวมทั้งโคลงกลอน บทละคร ตำราอาหารตะวันตก และจดหมายเหตุตัวอย่างหลังสุดนั้นเป็นบันทึกชิ้นหนึ่งที่สำคัญที่สุดในเวลานั้นจวบจนกระทั่งปัจจุบันในประเทศไทย บทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้านเป็นจดหมายเหตุถึง

พระราชธิดา ต่อมาได้ถูกตีพิมพ์และกลายเป็นหนึ่งในเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่มีค่าและอิทธิพลมากที่สุดของสยาม และหลังจากช่วงปีพ.ศ. 2473 ในประเทศไทย








https://www.scene4.com/archivesqv6/jan-2009/html/janineyasovantthai0109.html


No comments:

Post a Comment

temp song